![]() |
ส่วนที่ 1 |
บทนำ |
ส่วนที่ 2 |
สภาพทั่วไปและข้อมูลพื้นฐานสำคัญของเทศบาล |
ส่วนที่
3 |
สรุปผลการพัฒนาเทศบาลในปีที่ผ่านมา |
ส่วนที่ 4 | ยุทธศาสตร์และแนวทางการพัฒนาในช่วงสามปี |
บัญชีโครงการพัฒนา |
|
บัญชีสรุปโครงการพัฒนาแผนพัฒนาสามปี
(พ.ศ.2552-2554) เทศบาลเมืองทุ่งสง |
|
รายละเอียดโครงการพัฒนาแผนพัฒนาสามปี
(พ.ศ.2552-2554) |
|
ยุทธศาสตร์เร่งด่วน
ป้องกันและแก้ไขปัญหาอุทกภัยเมืองทุ่งสงแบบบูรณาการ |
|
บูรณาการความร่วมมือทุกภาคส่วนอย่างคุณภาพ
ในการป้องกันและแก้ไขปัญหาอุทกภัยเมืองทุ่งสงแบบบูรณาการให้ยั่งยืนโดยบูรณาการการพัฒนาด้านกายภาพและด้านกระบวนการทางสังคมอย่างเชื่อมโยงและต่อเนื่อง |
|
ยุทธศาสตร์ที่ 1 |
พัฒนาเมืองทุ่งสงให้มีคุณภาพการศึกษา และอนุรักษ์ประเพณีวัฒนธรรม |
การพัฒนาความรู้คู่คุณธรรม |
|
การศึกษาเพื่อชีวิต ชีวา และอาชีพ |
|
พัฒนาประสิทธิภาพระบบประกันคุณภาพการศึกษา |
|
พัฒนาประสิทธิภาพบุคลากรทางการศึกษา |
|
การอนุรักษ์ประเพณี วัฒนธรรม และภูมิปัญญาท้องถิ่น |
|
การมีส่วนร่วมจัดการศึกษา |
|
ยุทธศาสตร์ที่ 2 |
พัฒนาเมืองทุ่งสงให้มีระเบียบ สะอาด สวยงาม สิ่งแวดล้อมดีและยั่งยืน
(เมืองมีระเบียบ เมืองสะอาด และเมืองอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม) |
จัดระบบจราจรให้มีระเบียบ และมีประสิทธิภาพ |
|
ร่วมกันบริหารจัดการ จัดระเบียบและปรับปรุงตลาด
ร้านค้าแผงลอยให้สะอาด ปลอดภัยถูกสุขลักษณะ ได้มาตรฐาน
เป็นตลาดผู้บริโภคอย่างแท้จริง |
|
จัดระบบการรักษาความสะอาด ถนน ตรอก ซอย คูระบายน้ำ
ให้สะอาดอยู่เสมอ ครอบคลุมทุกชุมชน
โดยชุมชนมีส่วนร่วมในการจัดทำแผนด้านความสะอาดชุมชน สร้างจิตสำนึกการรักษาความสะอาดบ้านเรือน
ที่อยู่อาศัยของตนเอง จัดระบบบริหารดูแล ตรวจสอบความสะอาด
และความเป็นระเบียบเรียบร้อยของเมือง จัดตั้งหน่วย |
|
จัดระบบและพัฒนาระบบการจัดการขยะและน้ำเสียให้มีประสิทธิภาพโดยประชาขนมีส่วนร่วม |
|
รณรงค์ส่งเสริมการประหยัดพลังงานและทรัพยากรธรรมชาติ |
|
ร่วมกันเพิ่มพื้นที่สีเขียว
ปรับภูมิทัศน์
และปรับปรุงสวนสาธารณะเพื่อเป็นปอดของเมืองและชุมชน
เป็นแหล่งแห่งการเรียนรู้ตามธรรมชาติ |
|
ส่งเสริมและอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม |
|
ยุทธศาสตร์ที่ 3 |
พัฒนาคนให้มีสุขภาพดี กีฬาเด่น
ร่วมพลังแผ่นดินขจัดสิ้นยาเสพติด
(เมืองสุขภาพดี เมืองกีฬาปลอดยาเสพติด) |
แนวทางที่
1 |
ส่งเสริมการเล่นกีฬาเพื่อพัฒนาสุขภาพให้กับประชาชนและเยาวชนทั้งในและนอกระบบโรงเรียน
และร่วมมือกับสถาบันการกีฬาและสถาบันการศึกษา ชุมชนพัฒนาเด็ก
พัฒนาเด็กและเยาวชน ประชาชน ให้มีพื้นฐานการกีฬาที่ดี
นำไปสู่ความเป็นเลิศและกีฬาอาชีพ |
แนวทางที่
2 |
พัฒนาศักยภาพของศูนย์กีฬาเทศบาลให้เป็นศูนย์ส่งเสริมและพัฒนากีฬาที่ทันสมัย
มีอุปกรณ์ครบครันโดยมีผู้ชำนาญกีฬาและครูฝึกกีฬาที่มีประสิทธิภาพ |
แนวทางที่
3 |
จัดและส่งเสริมการแข่งขันกีฬาประเภทต่าง ๆ
อย่างสม่ำเสมอทั้งในระดับท้องถิ่นและระดับประเทศ |
แนวทางที่
5 |
จัดให้มีระบบสารสนเทศด้านสุขภาพและระบบประกันสุขภาพให้องค์กรชุมชนดูแลสุขภาพของประชาชน
ในเขตพื้นที่รับผิดชอบด้วยเทคโนโลยีที่ทันสมัยตลอดจนการใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่นในการดูแลสุขภาพและพัฒนาการให้บริการด้านสาธารณสุขของเทศบาล |
5.2 สนับสนุนองค์กรชุมชน(อบช.) อสม.ดูแลสุขภาพของประชาชนในเขตพื้นที่รับผิดชอบและประสานงานการบริการ
สุขภาพ |
|
5.3 พัฒนาการให้บริการด้านสาธารณสุขของเทศบาล |
|
แนวทางที่ 6 |
ดูแลสุขภาพของประชาชนโดยเน้นการป้องกันให้ความรู้ด้านป้องกันโรค
โภชนาการ |
แนวทางที่ 7 |
ส่งเสริมสนับสนุนการใช้มาตรการเกี่ยวกับมาตรฐาน
สุขอนามัยสินค้าเกษตรและอาหารและสนับสนุนโครงการอาหารปลอดภัย |
แนวทางที่ 9 |
สกัดกั้นอบายมุขและสิ่งเสพติดทั้งหลายด้วยยุทธศาสตร์พลังแผ่นดิน
(เน้นการป้องกัน ปราบปราม และบำบัด) |
แนวทางที่ 10 |
ส่งเสริมคุณภาพชีวิตแก่ผู้สูงอายุ |
ยุทธศาสตร์ที่ 4 |
พัฒนาเมืองทุ่งสงให้เศรษฐกิจดี พัฒนาการท่องเที่ยว
แก้ปัญหาหนี้สินและความยากจน (เมืองเศรษฐกิจดี เศรษฐกิจชุมชนเข้มแข็ง) |
แนวทางที่ 1 |
ให้ความรู้และพัฒนาฝึกทักษะงานพิเศษต่าง ๆ
และส่งเสริมอาชีพให้แก่ประชาชน นักเรียน
เยาวชน สร้างรายได้ให้กับครอบครัว
ลดปัญหาการว่างงานโดยทุกภาคีในเมืองทุ่งสง |
แนวทางที่ 2 |
สนับสนุนให้ชุมชนผลิตสินค้า 1 ชุมชน 1 ผลิตภัณฑ์
หนึ่งตำบลหนึ่งผลิตภัณฑ์และส่งเสริมให้เมืองทุ่งสงเป็นศูนย์กลางการจำหน่ายและส่งออกของจังหวัดนครศรีธรรมราช |
แนวทางที่ 3 |
บริหารจัดการเชิงบูรณาการให้งานดำเนินไปพร้อมกันอย่างรวดเร็ว
จัดกิจกรรมส่งเสริมการขายต่อเนื่องตลอดปีให้เมืองทุ่งสงเป็นศูนย์กลางทางการค้าโดยใช้กีฬาดนตรี
วัฒนธรรม การท่องเที่ยว
เป็นตัวชักนำร่วมกับผู้ประกอบการค้า หอการค้าและภาคอื่น ๆ
ในการส่งเสริมการขาย |
แนวทางที่ 4 |
ส่งเสริมการปลูกผักปลอดสารพิษและพืชสมุนไพรช่วยเหลือเศรษฐกิจในครอบครัว |
แนวทางที่
5 |
ส่งเสริมและพัฒนาเมืองทุ่งสงเป็นแหล่งท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์
รองรับการส่งเสริมการท่องเที่ยวของจังหวัดนครศรีธรรมราช |
ยุทธศาสตร์ที่ 5 | พัฒนาการบริหารจัดการเมืองทุ่งสงให้ก้าวหน้าสู่สากล
ตามหลักการบริหารจัดการที่ดี (เมืองก้าวหน้าสู่สากล)
|
5.1
บริหารจัดการที่ดีระดับเทศบาล |
|
พนักงานทศบาล/ลูกจ้างทุกสำนัก/กอง/ฝ่าย/งาน
ทำงานเชิงรุกมีวิสัยทัศน์
ภารกิจ
และยุทธศาสตร์ในการปฏิบัติงานใช้หลักการใหม่บริหารจัดการโดยมุ่งผลสัมฤทธิ์ของงานเป็นหลักผลงานคุณภาพงานประเมินด้วยเกณฑ์มาตรฐานระดับสากล
มีการจัดและประเมินอย่างต่อเนื่อง
และรายงานผลต่อสาธารณชนด้วยระบบประกันคุณภาพการบริหารจัดการโดยยึดหลักการมีส่วนร่วมของประชาชนเป็นสำคัญ
เน้นความโปร่งใสตรวจสอบได้ |
|
ทำให้เทศบาลเมืองทุ่งสงเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้
และให้พนักงาน ลูกจ้าง และบุคลากรต่าง ๆ
ที่เกี่ยวข้องกับเทศบาลให้เกิดการเรียนรู้ตลอดเวลา |
|
แนวทางที่ 3 |
เพิ่มประสิทธิภาพการบริหารงานและการบริการ |
3.2.
ปรับปรุงและพัฒนาเครื่องมือเครื่องใช้และสถานที่ปฏิบัติงาน |
|
3.4.
เพิ่มประสิทธิภาพการป้องกันภัยฝ่ายพลเรือน
ความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สินของประชาชน |
|
5.2. บริหารจัดการที่ดีระดับชุมชน |
|
ส่งเสริมสนับสนุนชุมชน บริหารจัดการชุมชนของตนเองเชิงบูรณาการให้มีการพัฒนาการดำเนินงานไปพร้อม
ๆ กันอย่างรวดเร็วและมีประสิทธิภาพ |
|
สร้างชุมชนเข้มแข็ง โดยส่งเสริมการมีส่วนร่วมของชุมชน
ร่วมมือกับภาครัฐ
และเอกชนในการสร้างการมีส่วนร่วมของประชาชนและพัฒนาองค์ความรู้ภาคประชาชน |
|
พัฒนาระบบการจัดเก็บข้อมูลชุมชน ข้อมูลความจะเป็นพื้นฐาน (จปฐ.)
ของชุมชนเพื่อให้เป็นฐานข้อมูลและดัชนีชี้วัดการดำรงชีพของประชาชน |
|
ส่งเสริมสวัสดิการชุมชนให้เข้มแข็ง |
|
ยุทธศาสตร์ที่ 6 |
พัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน สาธารณูปโภค สาธารณูปการ
(เมืองผาสุก ชุมชนน่าอยู่) |
แนวทางที่
1 |
พัฒนาระบบไฟฟ้า ประปา คูระบายน้ำ ถนน ตรอก ซอย
สะพานการจราจรให้เสร็จสมบูรณ์ภายใน
4
ปี |
ส่วนที่ 6 |
การนำแผนพัฒนาสามปีไปสู่การปฏิบัติและการติดตามและประเมินผล |
ส่วนที่แก้ไขเพิ่มเติม |
|
ยุทธศาสตร์ที่ 3 | พัฒนาคนให้มีสุขภาพดี กีฬาเด่น ร่วมพลังแผ่นดินขจัดสิ้นยาเสพติด (เมืองสุขภาพดี เมืองกีฬาปลอดยาเสพติด) |
แนวทางที่ 5 |
จัดให้มีระบบสารสนเทศด้านสุขภาพและระบบประกันสุขภาพให้องค์กรชุมชนดูแลสุขภาพของประชาชน ในเขตพื้นที่รับผิดชอบด้วยเทคโนโลยีที่ทันสมัย ตลอดจนการใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่นในการดูแลสุขภาพและพัฒนาการให้บริการด้านสาธารณสุขของเทศบาล |
5.2 สนับสนุนองค์กรชุมชน(อบช.) อสม.ดูแลสุขภาพของประชาชนในเขตพื้นที่รับผิดชอบและประสานงานการบริการ สุขภาพ | |
5.3 พัฒนาการให้บริการด้านสาธารณสุขของเทศบาล | |
ดูแลสุขภาพของประชาชนโดยเน้นการป้องกันให้ความรู้ด้านป้องกันโรค โภชนาการ | |
ส่งเสริมสนับสนุนการใช้มาตรการเกี่ยวกับมาตรฐาน สุขอนามัยสินค้าเกษตรและอาหาร และสนับสนุนโครงการอาหารปลอดภัย |